วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2555

กลุ่มที่ 8 บี.เอฟ.สกินเนอร์ “ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ ”

กลุ่มที่ 8บี.เอฟ.สกินเนอร์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
ประวัติ บี.เอฟ.สกินเนอร์
สกินเนอร์  Skinnor ”
- เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ..1940 ที่ มลรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา
-จบปริญญาตรี ทางวรรณคดี ในอังกฤษ
-เข้าศึกษาต่อสาขาจิตวิทยา ระดับปริญญาโทและเอก มหาวิทยาลัย ฮาร์ดเวิร์ด ปี ..1982 วิชาเอกพฤติกรรมศาสตร์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ มีชื่อเรียกต่างๆ คือ
-Operant Conditioning theory
-Instrumental Conditioning theory
-Type-R. Conditioning
    สกินเนอร์  มีความคิดว่าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคนั้น จำกัดอยู่กับพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเป็นจำนวนน้อยของมนุษย์ พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง ไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้าเก่า
สกินเนอร์ ได้เสนอความคิดโดยจำแนกทฤษฎีทางพฤติกรรมออกเป็น  2 ประเภท คือ
1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type S
     -มีสิ่งเร้าเป็นตัวกำหนดหรือดึงออกมา
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type R
    -พฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับการเสริมแรง
พฤติกรรมมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ
สิ่งที่ก่อเกิดขึ้นก่อน>พฤติกรรม>ผลที่ได้รับ
          A    >             B     >         C
Skinner ได้สร้างกล่องขึ้นมา มีชื่อเรียกว่า Skinner Box กล่องนี่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมมีคานหรือลิ้นบังคับให้อาหารตกลงมาในจาน เหนือคานจะมีหลอดไฟติดอยู่ เมื่อกดคานไฟจะสว่างและอาหารจะหล่นลงมา Skinner Box นำนกไปใส่ไว้ในกล่อง และโดยบังเอิญนกเคลื่อนไหวไปถูกคานอาหารก็หล่นลงมา
การเสริมแรง(Reinforcement)คือ การทำให้ผู้ทำพฤติกรรมเกิดความพึงพอใจเมื่อทำพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งแล้ว เพื่อให้ทำพฤติกรรมนั้นซ้ำๆ
การเสริมแรงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.การเสริมแรงทางบวก(Positive Reinforcement )
2.การเสริมแรงทางลบ(Negative Reinforcement)
การเสริมแรงแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.การเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง(Continuous Reinforcement)
2.การเสริมแรงเป็นครั้งคราว(IntermittentReinforcement)

การกำหนดการเสริมแรงตามเวลา(Iinterval schedule)
1.กำหนดเวลาที่แน่นอน(Fixed Interval Schedules )
2.กำหนดเวลาที่ไม่แน่นอน(Variable Interval Schedules )

กำหนดการเสริมแรงโดยใช้อัตรา(Ratio schedule)
1.กำหนดอัตราที่แน่นอน(Fixed Ratio Schedules )
2.กำหนดอัตราที่ไม่แน่นอน(Variable Ratio Schedules )
 ตัวอย่างตารางการให้การเสริมแรง
ตารางการเสริมแรง
ลักษณะ
ตัวอย่าง
การเสริมแรงทุกครั้ง
(Continuous)
เป็นการเสริมแรงทุกครั้งที่
แสดงพฤติกรรม
ทุกครั้งที่เปิดโทรทัศน์แล้ว
เห็นภาพ
การเสริมแรงความช่วงเวลาที่
แน่นอน (Fixed - Interval)
ให้การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่
กำหนด
ทุก สัปดาห์ผู้สอนจะทำ
การทดสอบ
การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่
ไม่แน่นอน
(Variable - Interval)
ให้การเสริมแรงตามระยะเวลา
ที่ไม่แน่นอน
ผู้สอนสุ่มทดสอบตามช่วงเวลา
ที่ต้องการ
การเสริมแรงตามจำนวนครั้ง
ของการตอบสนองที่แน่นอน
(Fixed - Ratio)
ให้การเสริมแรงโดยดูจาก
จำนวนครั้งของการตอบสนอง
ที่ถูกต้องด้วยอัตราที่แน่นอน
การจ่ายค่าแรงตามจำนวน
ครั้งที่ขายของได้
การเสริมแรงตามจำนวนครั้ง
ของการตอบสนองที่ไม่แน่นอน
(Variable - Ratio)
ให้การเสริมแรงตามจำนวนครั้ง
ของการตอบสนองแบบไม่แน่นอน
การได้รับรางวัลจากเครื่อง
เล่นสล๊อตมาชีน


การลงโทษ คือ การทำให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของพฤติกรรมลดลง การลงโทษมี 2 ทางได้แก่
1.การลงโทษทางบวก(Positive Punishment)
2.การลงโทษทางลบ(Negative Punishment)


ตารางเปรียบเทียบการเสริมแรงและการลงโทษ ได้ดังนี้
พฤติกรรม
การเสริมแรง
เพิ่มพฤติกรรม ก่อให้เกิดการกระทำ พฤติกรรมนั้นบ่อยขึ้น
พฤติกรรม
การลงโทษ
ลดพฤติกรรม ก่อให้เกิดการกระทำ พฤติกรรมนั้นน้อยลง


 การนำทฤษฎีการเรียนรู้ของ สกินเนอร์ ไปใช้ในการจัดการศึกษาปฐมวัย
1. การใช้เสริมแรง
2. การปลูกฝังพฤติกรรมบางอย่างและการลดพฤติกรรมบางอย่าง
3. บทเรียนแบบโปรแกรม และเครื่องช่วยสอน
สรุปแนวคิดที่สำคัญของ สกินเนอร์  Skinner
สกินเนอร์ได้กล่าวไว้ว่า การเสริมแรงเป็นสิ่งที่สำคัญที่ทำให้บุคลแสดงพฤติกรรมซ้ำ และพฤติกรรมของบุคคลส่วนใหญ่เป็นพฤติกรรมแบบเรียนรู้ปฏิบัติและพยายามเน้นว่า การตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดๆของบุคคล สิ่งเร้านั้นจะต้องมีสิ่งเสริมแรงอยู่ในตัว หากลดสิ่งเสริมแรงลงเมื่อใด การตอบสนองจะลดลงเมื่อนั้น ’’


1 ความคิดเห็น: